THE BEST SIDE OF วิกฤตคนจน

The best Side of วิกฤตคนจน

The best Side of วิกฤตคนจน

Blog Article

ผลการสอบสวนปรีดี พนมยงค์ กรณีคอมมิวนิสต์

สำหรับช่องว่างนี้ ดร.บัณฑิต นิจถาวร อธิบายว่า “เกิดจากระบบแรงจูงใจทางเศรษฐกิจที่ผิดพลาด ที่เป็นผลจากการดำเนินนโยบายเศรษฐกิจ ทำให้ภาคอุตสาหกรรมในประเทศไม่มีการพัฒนา ไม่มีนวัตกรรม ไม่มีการลงทุนใหม่ ไม่มีสินค้าใหม่ๆ ที่จะไปแข่งขันกับต่างประเทศเพื่อสร้างรายได้ ขณะเดียวกันภาคธุรกิจ โดยเฉพาะบริษัทใหญ่ ก็ได้รับการปกป้องในการทำธุรกิจในประเทศ จนทำให้การทำธุรกิจในประเทศมีการแข่งขันน้อย ธุรกิจขนาดใหญ่มีอิทธิพลมากจากสัดส่วนตลาดที่มีสูงและความใกล้ชิดกับผู้ทำนโยบาย สิ่งเหล่านี้ทำให้การแข่งขันที่มีน้อยเป็นข้อจำกัดต่อผู้ประกอบการรายใหม่ ธุรกิจขนาดกลางและธุรกิจจากต่างประเทศ ผลคือไม่มีแรงจูงใจให้เกิดการลงทุนในประเทศโดยผู้เล่นรายใหม่และเศรษฐกิจเสียโอกาส นี่คืออีกประเด็นที่ลืมไม่ได้และต้องแก้ไข เพื่อการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระยะยาว”

ข้อเสนอที่เป็นทั้งมาตรการระยะสั้น และระยะยาว จะเกิดขึ้นได้เมื่อภาครัฐ ‘ปรับวิธีคิด’ รัฐต้องเข้าใจว่าคนจน คือ คนที่เข้าไม่ถึงโอกาส และมีข้อจำกัดในการใช้ทรัพยากรของรัฐ เพราะคนจน ต้องพึ่งพาทุนทางทรัพยากร แต่การเกิดขึ้นของโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่ ทำให้ที่ดิน แหล่งน้ำ และป่าไม้ลดน้อยลงไป รัฐจึงต้องเร่งพัฒนาและสร้างศักยภาพให้กับกลุ่มคนจนอย่างเหมาะสม  ออกแบบแนวทางการอบรมให้เป็นไปตามวิถีการใช้ชีวิต 

ประธานาธิบดีศรีลังกา ลาออกอย่างเป็นทางการแล้วหลังลี้ภัยถึงสิงคโปร์

สถาบันวิจัยเศรษฐกิจป๋วย อึ๊งภากรณ์

Thanks for choosing to get part of the [channelTitle] Neighborhood!Your membership has become Energetic. The most วิกฤตคนจน up-to-date blog posts and website-similar announcements will likely be sent straight to your e-mail inbox. You could possibly unsubscribe Anytime. Greatest regards,The globe Lender Blogs group Also subscribed to: E-mail:

เมื่อฟองสบู่แตก เขาถูกเบี้ยวหนี้ ต้องเลิกกิจการ แล้วเลือกที่จะไปเรียนต่อที่ญี่ปุ่น ฝึกฝนภาษา สร้างความคุ้นเคยกับพื้นที่จนผันตัวเองมาทำทัวร์ในญี่ปุ่น เขามีลูกค้าระดับบริษัทใหญ่มากมาย ที่เลือกพาลูกค้าหรือพนักงานที่ทำยอดได้ตามเป้ามาเที่ยว

"ฟาสต์แฟชั่น" อุตสาหกรรมเสื้อผ้าในกัมพูชากำลังทำร้ายแรงงานในโรงงานเผาอิฐ

นอกจากนั้น โครงการผันเงิน ยังเป็นการแสดงถึงการนำสังคมสู่การเป็น “ประชาธิปไตย” ผ่านการ “กระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น” ลดทอนความรุนแรงจากข้อเรียกร้องที่ต้องการให้มีการเปลี่ยนแปลงสังคมอย่างถอนรากถอนโคน และรัฐบาลในชุดนี้ยังประนีประนอมกับคนกลุ่มต่าง ๆ เพื่อหวังสร้าง “การเมืองทางสายกลาง” หลีกเลี่ยงการนำสังคมไทยสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมืองอย่างสุดขั้วตามกระแส “สงครามเย็น”

ด้านนักเศรษฐศาสตร์ ระบุว่า คนจนและกลุ่มเปราะบางคือคนกลุ่มแรก ๆ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และวิกฤตนี้ยังทำให้ความเหลื่อมล้ำทางเศรษฐกิจในสังคมเพิ่มมากขึ้นด้วย

นอกจากนี้ กระบวนการคัดกรองว่าครอบครัวใดจน ครอบครัวใดไม่จน ทำให้เด็กที่ไม่จนจริงได้รับสิทธิที่เรียกว่ารั่วไหล และเกิดกรณีเด็กยากจนตกหล่น จากการที่เด็กในครอบครัวยากจนถูกคัดออก โดยการตกหล่นนี้จะมีเสมอ

“ไม่ต้องถึงกับว่าต้องมาติดแอร์ให้ ขอแค่ช่วยบรรเทาจากหนักเป็นเบา ช่วยให้ค่าไฟลดลงได้ไหม หรือทำอย่างไรให้คนจนรู้สึกว่ามีเวลาพักผ่อนได้เพียงพอในเวลากลางคืนเหมือนปกติ เพื่อให้ตื่นไปทำงานได้” วิมล กล่าว

วิกฤตศรีลังกาทำพ่อแม่ต้องเลือกจะให้ลูกคนไหนไปหรือหยุดเรียน

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

Report this page